วันพุธที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2559

เ ต มี ย์ ช า ด ก - ( พระเตมีย์ใบ้ )

                 พระราชาพระองค์หนึ่ง ทรงพระนามว่า พระเจ้ากาสิกราช ครองเมืองชื่อว่า พาราณสี มีพระมเหสี พระนามว่า จันทรเทวี พระราชาไม่มีพระราชโอรสที่จะครองเมืองต่อจากพระองค์ จึงโปรดให้ พระนางจันทรเทวีทำพิธีขอพระโอรสจากเทพเจ้า พระนางจันทรเทวีจึงทรงอธิษฐานว่า 
"ข้าพเจ้าได้รักษาศีล บริสุทธิ์ตลอดมา ขอให้บุญกุศลนี้บันดาลให้ข้าพเจ้ามีโอรสเถิด" ด้วยอานุภาพแห่งศีลบริสุทธิ์ พระนางจันทรเทวีทรงครรภ์ และประสูติพระโอรสส อ่านเพิ่มเติม

เวสสันดรชาดก

ระเจ้าสญชัย ทรงครองราชสมบัติเมืองสีพี มีพระมเหสีทรงพระนามว่า พระนางผุสดี ธิดาพระเจ้ากรุงมัททราช พระนางผุสดีนี้ในชาติก่อนๆ ได้เคยถวายแก่นจันทน์หอม เป็นพุทธบูชาและอธิษฐานขอให้ได้เป็นพุทธมารดาพระพุทธเจ้าในกาลอนาคต ครั้นเมื่อนางสิ้นชีวิตก็ได้ไปบังเกิดในเทวโลก เมื่อถึงวาระที่จะต้องจุติมาเกิดในโลกมนุษย์ พระอินทร์ได้ประทานพรสิบประการแก่นาง ครั้นเมื่อพระนางผุสดีทรงครรภ์ใกล้กำหนดประสูติ พระนางปรารถนาไปเที่ยวชมตลาด ร้านค้า บังเอิญในขณะเสด็จประพาสนั้น พระนางทรงเจ็บครรภ์และประสูติพระโอรสในบริเวณย่านนั้น พระโอรสจึงทรงพระนามว่า เวสสันดร หมายถึง ในท่ามกลางระหว่างย่านค้าขาย พร้อมกับที่พระโอรสประสูติ ช้างต้นของ อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 8 ศาล และองค์กรอิสระ

บทที่ 8 ศาล และองค์กรอิสระ

(ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550)
ศาลใช้อำนาจตุลาการในการพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง แต่ยังมีองค์กรอิสระอื่นที่ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยประชาชนในการตรวจสอบให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปตามรัฐธรรมนูญและคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเพื่อความยุติธรรม
สาระการเรียนรู้  อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 7 เรื่อง คณะรัฐมนตรี

บทที่ 7 เรื่อง คณะรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรีเป็นคณะบุคคลที่มีอำนาจหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งมีความสำคัญทั้งในด้านกฎหมาย ทางการเมือง และในทางอำนาจที่กำหนดไว้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กำหนดให้มีคณะรัฐมนตรีรวมทั้งสิ้นไม่เกิน 36 คน ประกอบด้วยนายกรัฐมนต อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 6 เรื่อง รัฐสภา

บทที่ 6 เรื่อง รัฐสภา

 รัฐสภามีหน้าที่ในการออกกฎหมาย ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา สมาชิกรัฐสภาเป็นผู้แทนปวงชนทั้งประเทศ
การเข้าเป็นสมาชิกรัฐสภา จึงต้องมีการกลั่นกรองคุณสมบัติก่อนได้รับการเลือกตั้งจากประชาชนและต้องไม่กระทำการอันเป็นปฏิปักษ์ต่อการปฏิบัติ อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 5 เรื่อง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

บทที่ 5 เรื่อง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ที่ เรื่อง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขสังคมทุกสังคมจะเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นได้ ย่อมต้องมีระเบียบวินัยและผู้นำของสังคมเป็นหลักในการปกครอง ผู้นำของสังคมระดับประเทศโดยเฉพาะระบอบประชาธิปไตย อ่านเพิ่มเติม

บทที่4 พัฒนาการการเมืองการปกครองของไทย

บทที่4 พัฒนาการการเมืองการปกครองของไทย

การเมืองการปกครองของไทยในสมัยสุโขทัยและอยุธยาได้วิวัฒนาการมาสอดคล้อง กับสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยในสมัยนั้น ๆ ครั้นถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์การเมืองการปกครองของไทยได้เปลี่ยนแปลงไปเพราะได้รับอิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกเป็นสำคัญ
สาระการเรียนรู้ อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 3 การเมืองการปกครอง

บทที่ 3 การเมืองการปกครอง

   ที่การเมืองเป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองและการบริหารราชการแผ่นดิน และการใช้อำนาจที่ได้มาเพื่อสร้างความผาสุกให้แก่ประชาชน ส่วนการปกครองเป็นการทำงานของ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งจะดำเนินการตามกฎหมายและนโยบายที่รัฐมอบให้ดำเนินการ โด อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 2 โครงสร้างทางสังคมและลักษณะของสังคมไทย

บทที่ 2 โครงสร้างทางสังคมและลักษณะของสังคมไทย

สังคมไทยเป็นสังคมที่ มีโครงสร้างทางสังคมเช่นเดียวกับโครงสร้างทางสังคมทั่วไปในเรื่องของกลุ่มสังคมและสถาบันสังคม การที่สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด ทั้งที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบไม่มีแบบแผนและมีแบบแผนก่อให้เกิดทั้งผลดีและผลเสียขึ้นในสังคมไทย ในแง่ของผลเสีย พบว่า กระบวนการของความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาในสังคมไทยมากมาย จำเป็นอย่า อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 1 หน้าที่พลเมืองและวัฒนธรรมไทย

บทที่ 1 หน้าที่พลเมืองและวัฒนธรรมไทย

สังคมประชาธิปไตยเป็นสังคมที่ยึดหลักความเท่าเทียมกันของบุคคลในสังคม ทั้งนี้ผู้ที่อาศัยอยู่ในสังคมประชาธิปไตยหรือพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยจึงควรมีการปฏิบั อ่านเพิ่มเติม